ครุย อาภรณ์แห่งปัญญา
๑๓

ครุย อาภรณ์แห่งปัญญา

โรงเรียนข้าราชการพลเรือนฯ ได้รับพระมหากรุณาธิคุณจากพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงบัญญัติรูปแบบเสื้อครุยวิทยฐานะพระราชทานไว้ ซึ่งมิได้ทรงกำหนดให้ใช้เสื้อครุยตามแบบมหาวิทยาลัยในทวีปยุโรป แต่ทรงอนุโลมรูปแบบของเสื้อครุยไทยอันเป็นเครื่องประกอบยศของขุนนางไทยตั้งแต่สมัยอยุธยามาใช้ อย่างไรก็ตามเนื่องจากในระยะนั้นยังไม่ได้จัดการศึกษาขั้นปริญญาจึงยังไม่ได้ใช้จริงสำหรับบัณฑิต ต่อมาในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวเมื่อทรงมีพระมหากรุณาธิคุณจะเสด็จพระราชดำเนินมาพระราชทานปริญญาบัตรแก่บัณฑิตรุ่นแรกของมหาวิทยาลัยนั้น ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตราพระราชกำหนด เสื้อครุยบัณฑิตของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พ.ศ. ๒๔๗๓ ขึ้น โดยกำหนดลักษณะในรายละเอียด ซึ่งได้ใช้เป็นแบบแผนสืบมาจนปัจจุบัน

กลับหน้าหลัก
การบุกเบิกงานค่ายอาสา

การบุกเบิกงานค่ายอาสา

ในฐานะที่เป็นกิจกรรมเสริมหลักสูตรของสโมสรนิสิตแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยเพราะค่ายอาสาเป็นกิจกรรมที่ยูเนสโกสนับสนุนและถือว่าเป็นส่วนหนึ่งของกิจกรรมเยาวชนตั้งแต่ พ.ศ.๒๕๐๐

๖๔
ข้อตกลงการผลิตนักปกครองสู่สังคมไทย

ข้อตกลงการผลิตนักปกครองสู่สังคมไทย

เป้าหมายสำคัญประการหนึ่งของการก่อตั้งโรงเรียนมหาดเล็กซึ่งสืบเนื่องต่อมายังโรงเรียนข้าราชการพลเรือนของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยตั้งแต่แรกเริ่มก่อตั้ง คือการผลิตบุคคลเข้าสู่ระบบราชการโดยเฉพาะอย่างยิ่งข้าราชการสายปกครองให้กับกระทรวงมหาดไทย

๕๘
การปรับหลักสูตรระดับปริญญา

การปรับหลักสูตรระดับปริญญา

คณะแพทยศาสตร์ คือคณะแรกที่พัฒนาเป็นมหาวิทยาลัย

๒๐