การจัดการศึกษาเกี่ยวกับภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
๗๔

การจัดการศึกษาเกี่ยวกับภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

นอกจากให้ความสำคัญกับเรื่องของไทยแล้วจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยได้ตระหนักว่าภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้จะเป็นอีกภูมิภาคหนึ่งซึ่งจะเป็นที่สนใจในหมู่นานาชาติมากยิ่งขึ้นในอนาคต ทั้งนี้เนื่องจากช่วงเวลาที่เปลี่ยนแปลงไปสังคมโลกได้หันมาสนใจโลกตะวันออกเพิ่มมากขึ้น ดังนั้นในฐานะที่ไทยเป็น ๑ ในประเทศสำคัญในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ จึงสมควรเป็นศูนย์กลางในการศึกษาเกี่ยวกับภูมิภาคนี้ด้วย ด้วยเหตุนี้จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยจึงได้เปิดหลักสูตรเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ศึกษาขึ้นในปี พ.ศ.๒๕๔๑ โดยเป็นความร่วมมือระหว่างคณะอักษรศาสตร์และสถาบันเอเชียศึกษา

โครงการทัศนศึกษาศิลปวัฒนธรรมอาเซียน ครั้งที่ ๑ ราชอาณาจักรกัมพูชา ระหว่างวันที่ ๑๐-๑๒ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๖
กลับหน้าหลัก
เรือนไทยจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

เรือนไทยจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ด้วยตระหนักถึงความสำคัญที่จะเสริมสร้างบรรยากาศทางวัฒนธรรมไทยประกอบกับความคิดที่จะสร้างสรรค์ถาวรวัตถุเป็นการเฉลิมฉลองเนื่องในมงคลวโรกาสเฉลิมพระชนมพรรษา ๕ รอบของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และวาระครบรอบ ๗๐ ปี แห่งการสถาปนาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

๙๕
พิพิธภัณฑสถานวาจวิทยาวัฑฒน์

พิพิธภัณฑสถานวาจวิทยาวัฑฒน์

ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ.๒๕๒๕ เพื่อเป็นที่ระลึกถึงหลวงวาจวิทยาวัฑฒน์คณบดีคนแรกผู้ก่อตั้งคณะทันตแพทยศาสตร์และเพื่อร่วมเฉลิมฉลองกรุงเทพมหานครครบ ๒๐๐ ปี

๗๘
พิพิธภัณฑ์เทคโนโลยีทางภาพ

พิพิธภัณฑ์เทคโนโลยีทางภาพ

จัดแสดงวิวัฒนาการของกล้องถ่ายภาพอุปกรณ์การถ่ายภาพต่างๆ และภาพถ่ายตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบันรวมทั้งวิวัฒนาการความก้าวหน้าด้านเทคโนโลยีการพิมพ์และวัตถุพิมพ์ ถือเป็นพิพิธภัณฑ์แห่งแรกของประเทศไทยที่จัดแสดงกล้องถ่ายภาพภาพถ่ายสีเชิงศิลปะ

๘๓